โฆษณา

STEM Education ด้วย Social Media by kruweerachat

Wednesday, November 18, 2015

เครื่องมือที่ใชในการวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ



เครื่องมือที่ใชในการวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณที่นิยมใช กันอยางแพรหลายไดแก 1.Watson–Glaser Critical Thinking Appraisal สรางขึ้นโดยวัตสันและ เกลเซอร
        ในป ค.ศ. 1990 ปเตอรเอ ฟาซิโอน (Peter A. Facione) จึงไดทําโครงการวิจัยเดลฟาย (Delphi Research Project) โดยการสนับสนุนของสมาคมปรัชญาแหงอเมริก า (American Philosophical Association : APA) กลุมตัวอยางในการวิจัย ประกอบดวย อาจารยใน มหาวิทยาลัยตาง ๆ ของสหรัฐอเมริกา ที่เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการคิดอยางมีวิจารณญาณ จํานวน 46 ทาน อาทิเชน เอนนิส (Ennis) มัวร (Moore) นอรริส (Norris) พอล (Paul) และมิลเลอร (Miller) เปนตน มีผลทําใหเกิดนิยามการคิดอยางมีวิจารณญาณที่สอดคลองกันวา การคิด อยางมีวิจารณญาณเปนการตัดสินที่มีเปาหมาย เปนการตัดสินที่กํากับไดดวยตนเอง (Purposeful self-regulatory judgment) ซึ่งเปนผลมาจากการตีความ การวิเคราะหการ ประเมินขอโตแยง การสรุปอางอิงอยางมีเหตุผล โดยมีการพิจารณาหลักฐาน มโนทัศนวิธีการ เกณฑ และบริบทรวมดวย
           การสร้างเครื่องมือที่ใชวัดการคิดอยางมีวิจารณญาณ
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking Skills) ซึ่ง ถูกแบ่งเป็น 5 ด้าน ตามแนวคิด จาก Delphi Research Project ซึ่ง สนับสนุนโดย American Philosophical Association (Facione, 1990)ดงัน้ี 1) การตีความ (Interpretation) 2) การวิเคราะห์ (Analysis) 3) การประเมิน (Evaluation) 4) การสรุปความ (Inference) 5) การอธิบายความ (Explanation)

 (Facione; & Facione. 1996) โดยใหนิยามของทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking skills) ไววา 6 หมายถึงทักษะในการคิดที่เกี่ยวของกับประสบการณในดานตาง ๆ เชน การตีความ (Interpretation) การวิเคราะห (Analysis) การประเมิน (Evaluation) การสรุปอางอิง (Inference) การอธิบาย (Explanation) และการควบคุมตนเองดานการคิด (Meta-cognitive self regulation) สวนคุณ ลักษณะของผูที่มีการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Disposition component of critical thinking) หมายถึง คุณลักษณะของบุคคลที่จะสงเสริมกระบวนการ พัฒนาทางปญญา มีองคประกอบ 7 ดานคือ การชอบคนหาความจริง (Truth-seeking) การ เปดใจกวาง (Open-mind) การคิดอยางวิเคราะห (Analyticity) การมีระบบระเบียบ (Systematicity) ความมั่นใจในตนเองตอการใชกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking self - confidence) ความอยากรูอยากเห็นทางวิชาการ (Inquisitiveness) และการมี วุฒิภาวะ (Maturity) (Facione. 1990 ; Facione; & Facione. 1996 ; Facione; et al. 1998 ; Facione; Facione; & Giancarlo. 2000)
      เพ็ญพิศุทธิ์  เนคมานุรักษ์ (2537) และบุษกร  ดำคง (2542) เป็นต้น มาสรุปประเด็นสำคัญเพื่อใช้ร่วมในการจัดสร้างแบบฝึกทักษะกระบวนการคิด    เนื่องจากทั้งสองท่านศึกษาประเด็นทฤษฎีเชาวน์ปัญญาของกิลฟอร์ด, เพียเจท์  เอนนิส  และสเตอน์เบอร์ก   เกี่ยวกับการคิดวิจารณญาณ โดยเพ็ญพิศุทธิ์  เนคมานุรักษ์ ได้ศึกษากระบวนการและองค์ประกอบของการคิดวิจารณญาณแล้ววิเคราะห์   สังเคราะห์จนได้กระบวนการคิด 7 ขั้นตอนดังนี้
           3.  การพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล และการระบุความพอเพียงของข้อมูลซึ่งต้องอาศัยความสามารถในการพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล ความถูกต้องของข้อมูล การประเมินข้อมูลทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ
           4.  การระบุของข้อมูลซึ่งต้องอาศัยความสามารถในการแยกแยะ  ความแตกต่างของข้อมูล การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล การตีความ การสังเคราะห์ การระบุสันนิษฐานเบื้องต้น การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ
           5.  การตั้งสมมุติฐาน ซึ่งต้องอาศัยความสามารถในการเชื่อมโยง ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างข้อมูลที่มีอยู่ระบุทางเลือกของปัญหา  และความสามารถในการตั้งสมมุติฐาน
           6.  การประเมินข้อสรุป ซึ่งต้องอาศัยความสามารถในการวิเคราะห์ และการประเมินผล เพื่อพิจารณาว่า จะนำไปใช้ได้หรือไม่ และมีผลตามมาอย่างไร
           ทั้งหมดนี้เป็นแนวทางการคิดวิจารณญาณโดยสรุป      แสดงให้เห็นว่าเมื่อบุคคล สถานการณ์หรือสิ่งเร้าเป็นข้อมูลสู่สมองบุคคลจะมีความสามารถในการคิดตัดสินใจจากการระบุประเด็นปัญหาข้อมูลตั้งสมมุติฐาน สรุปความคิด และขั้นตอนสุดท้ายคือการประเมินผล ซึ่งสามารถคิดแก้ปัญหาได้ดีขึ้น แต่การทำแบบฝึกมีเพียงกระบวนการอย่างเดียวไม่พอจึงต้องนำการสรุปประเด็นสำคัญ ซึ่งเป็นทฤษฎีของ เอนนิส (Ennis) เกี่ยวกับการคิดวิจารณญาณมาประกอบเพื่อให้เห็นทิศทาง การสร้างแบบฝึกได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
           ความสามารถของการคิดวิจารณญาณ (Norris and Ennis 1989 : 14) ประกอบด้วย
           1. ความกระจ่างชัดเบื้องต้น(Elementary Clarification) ซึ่งได้แก่
                   1.1 ถามได้ตรงประเด็น (Focusing on a question)
                   1.2  วิเคราะห์การอ้างเหตุผล (Analyzing argument)
                   1.3  ถามและตอบคำถามได้ชัดเจนและท้าทาย (Asking and answering question that clarify and challenge)
           2.  ข้อมูลสนับสนุน (Basic support) ซึ่งได้แก่
                   2.1  พิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล (Judging the credibility of a source)
                   2.2  มีการสังเกต (Making and judging observations)
           3.  การสรุปอ้างอิง (Inference)
                   3.1  การนิรนัย (Making and judging deductions)
                   3.2  การอุปนัย (Making and judging inductions)
                   3.3  การตัดสินคุณค่า (Making and judging value Judgment)
           4.  การกระจ่างชัดขั้นสูง (Advanced Clarification)
                   4.1 กำหนดปัญหาและอธิบายคำจำกัดความของปัญหา (Defining terms and judging   definitions)
                   4.2  ระบุข้อตกลงเบื้องต้น (Identifying Assumptions)
           5.  ยุทธวิธีและกลยุทธ์ (Strategies and Tactics)
                   5.1  การตัดสินใจลงมือทำ (Deciding on an action)
                   5.2  ปฏิกิริยา กับผู้อื่น (Interacting with others)
ลักษณะ (disposition) ของการคิดวิจารณญาณ ประกอบด้วย (Norris and Ennis 1989 : 12)
           1.  ตั้งคำถามหรือค้นหาข้อมูลจากเรื่องที่ให้มา
           2.  ค้นหาเหตุผล
           3.  การแสดงออกอย่างมีเหตุผล
           4.  การอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
           5.  การทำความเข้าใจเรื่องราวในสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
           6.  การบอกถึงใจความสำคัญ
           7.  การเก็บจำความรู้พื้นฐาน
           8.  การสร้างทางเลือก
                   9.1  ยอมรับ พิจารณาความคิดเห็นของผู้อื่น
                   9.2  ใช้เหตุผลเป็นจุดเริ่มต้น และเป็นเหตุผลที่ได้รับการยอมรับ
                   9.3  ตัดสินใจด้วยการใช้ข้อมูลและเหตุผลอย่างเพียงพอ
           10.  มีจุดยืนและสามารถเปลี่ยนจุดยืนได้เมื่อมีหลักฐานและเหตุผลเพียงพอสนับสนุน
           11.  ค้นหาเหตุผลให้มาก เพื่อความถูกต้อง
           12.  จัดการเรื่องต่างๆ อย่างมีระเบียบ
           13.  นำความสามารถคิดวิจารณญาณมาใช้
           14.  มีความไวต่อความรู้สึก ระดับความรู้และระดับการอ้างเหตุผลของผู้อื่น
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/ratchaburi/sudarath_d/think/Index/P5N5.htm
ความหมาย , ทฤษฎีและแนวคิดการคิดวิจารณญาณ 
           การคิดวิจารณญาณมีผู้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
           กองวิจัยทางการศึกษา (2541) การมีกระบวนการที่รอบคอบ สมเหตุสมผลผ่านการพิจารณาข้อมูลรอบด้านอย่างรอบคอบ กว้างไกล ลึกซึ้งและการตรวจสอบอย่างถูกต้องจากแหล่งที่ใช้ข้อมูล มีการพิจารณากลั่นกรองข้อมูล ไตร่ตรองทั้งด้านคุณ และโทษและคุณค่าที่แท้จริงของสิ่งนั้นมาแล้ว และทบทวนเพื่อหาข้อสรุปก่อนนำไปสู่การตัดสินใจ
          มยุรี  หรุ่นขำ (2544 : 15)อ้างอิงจาก ดิวอี้ (Dewey, 1933) การคิดใคร่ครวญ ไตร่ตรองโดยเป็นการคิดที่เริ่มต้นจากสถานการณ์ ที่มีความยุ่งยากและสับสน และสิ้นสุดลงด้วยสถานการณ์ที่ชัดเจน
           เพ็ญพิศุทธิ์  เนคมานุรักษ์ (2537 : อัดสำเนา) อ้างอิงจากกานิเย (Gagne’, 1974) การคิดอย่างมีเหตุผลซึ่งเป็นการคิดอย่างใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาสถานการณ์หรือข้อมูลต่างๆ ว่ามีข้อเท็จจริงเพียงใด
           เพ็ญพิศุทธิ์  เนคมานุรักษ์ (2537 : อัดสำเนา) อ้างอิงจาก มัวร์ (Moor, 1967) เป็นการทดสอบการประเมินข้อสรุป หรือการอธิบายต่างๆ
           ทิศนา  แขมมณี และคณะ (2543) มีลักษณะการคิดในระดับสูง เป็นกระบวนการคิดที่ผ่านการกลั่นกรองมาดีแล้ว สามารถนำไปใช้แก้ปัญหา และตัดสินใจ
           ทิศนา  แขมมณี และคณะ (2544 : 153) ให้ทัศนะว่า ความถูกต้องของความคิดขึ้นอยู่กับความพอเพียงและความถูกต้องของข้อมูลเป็นสำคัญ
           การคิดวิจารณญาณจึงเป็นกระบวนการคิดระดับสูงที่ผ่านการใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างรอบครอบตามข้อมูลและเหตุที่เกิดขึ้นก่อนเป็นเบื้องต้น    เพื่อให้เกิดการลงมือปฏิบัติ หรือได้ข้อสรุป
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/ratchaburi/sudarath_d/think/Index/P5N4.htm
  1. การทำความเข้าใจปัญหา
  2. การสังเกตความน่าเชื่อถือของข้อมูล
  3. การใช้เหตุผลเชิงอนุมาน
  4. การใช้เหตุผลเชิงอุปมาน
  5. การตัดสินคุณค่า
  6. การแปลความหมาย
  7. การกำหนดข้อสมมุติฐาน
  8. การแก้ปัญหา
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 เพื่อให้ได้ความคิดที่รอบคอบสมเหตุสมผลผ่านการพิจารณาปัจจัยรอบด้านอย่างกว้างไกล ลึกซึ้ง และผ่านการพิจารณากลั่นกรอง ไตร่ตรอง ทั้งด้านคุณ-โทษ และคุณค่าที่แท้จริงของสิ่งนั้นมาแล้ว
เกณฑ์ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 ผู้ที่คิดอย่างมีวิจารณญาณ จะมีความสามารถดังนี้
  1. สามารถกำหนดเป้าหมายในการคิดอย่างถูกต้อง
  2. สามารถระบุประเด็นในการคิดได้อย่างชัดเจน
  3. สามารถประมวลข้อมูล ทั้งทางด้านข้อเท็จจริง และความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิด ทั้งทางกว้าง ทางลึก และไกล
  4. สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และเลือกข้อมูลที่จะใช้ในการคิดได้
  5. สามารถประเมินข้อมูลได้
  6. สามารถใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูล และเสนอคำตอบ/ทางเลือกที่สมเหตุสมผลได้
  7. สามารถเลือกทางเลือก/ลงความเห็นในประเด็นที่คิดได้
วิธีคิด
  1. ตั้งเป้าหมายในการคิด
  2. ระบุประเด็นในการคิด
  3. ประมวลข้อมูล ทั้งทางด้านข้อเท็จจริง และความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่คิดทั้งทางกว้าง ลึก และไกล
  4. วิเคราะห์ จำแนกแยกแยะข้อมูล จัดหมวดหมู่ของข้อมูล และเลือกข้อมูลที่นำมาใช้
  5. ประเมินข้อมูลที่จะใช้ในแง่ความถูกต้อง ความเพียงพอ และความน่าเชื่อถือ
  6. ใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูล     เพื่อแสวงหาทางเลือก/คำตอบที่สมเหตุ
สมผลตามข้อมูลที่มี
  7.  เลือกทางเลือกที่เหมาะสมโดยพิจารณาถึงผลที่จะตามเข้ามา และคุณค่าหรือความหมายที่แท้จริงของสิ่งนั้น
  9. ไตร่ตรอง ทบทวนกลับไปมาให้รอบคอบ
  10. ประเมินทางเลือกและลงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิด
(ทิศนา  แขมณี และคณะ. 2540:61-62)
การสอนเนื้อหาต่างๆ โดยพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาการคิดแบบต่างๆรวมทั้งทักษะการคิด และทักษะผสมผสานในกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้เนื้อหาที่สอนอยู่แล้ว แต่ปรับกิจกรรม
การเรียนการสอนในลักษณะที่ให้โอกาสผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดที่หลากหลาย (ทิศนา  แขมณี และคณะ. 2540:67)
 กระบวนการคิดที่สำคัญควรปลูกฝังและพัฒนานักเรียน มี 3 กระบวนการ คือ
( สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2541:200-202 )
 1. กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 2. กระบวนการคิดแก้ปัญหา
 3. กระบวนการคิดสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ( Critical  Thinking )
ความหมายการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ คือ การคิดอย่างมีเหตุผลที่จะนำไปสู่การตัดสินใจอย่างรอบคอบ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการคิดในขั้นสูง คือการแก้ปัญหา และการคิดสร้างสรรค์(สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2541:201)
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (สุดา  อ่อนประไพ.2548:38-39 )
 1.  การกำหนดปัญหา หมายถึง ทำความเข้าใจกับปัญหาโดยพิจารณาเพื่อทำความชัดเจนว่าอะไรคือปัญหาที่แท้จริง
 2. การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา ข้อโต้แย้งหรือข้อมูลที่คลุมเครือจากแหล่งต่างๆ
 3. การจัดระบบข้อมูล หมายถึง การพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล พิจารณาความเพียงพอของข้อมูล และการจัดระบบของข้อมูล
 4.  การตั้งสมมุติฐาน หมายถึง การพิจารณาแนวทางสรุปอ้างอิงของปัญหา ข้อโต้แย้ง โดยนำข้อมูลที่มีการจัดระบบแล้ว   มาพิจารณาเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์เพื่อกำหนดแนวทางการสรุป
 5. การสรุปอ้างอิงโดยใช้หลักเหตุผล หรือหลักตรรกศาสตร์ หมายถึง การพิจารณาเลือกแนวทางที่สมเหตุสมผลที่สุดจากข้อมูล และหลักฐานที่มีอยู่
 6.  การประเมินและสรุป หมายถึง การประเมินความสมเหตุสมผลของข้อสรุปอ้างอิง
 รวมทั้งพิจารณาว่าข้อสรุปนั้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์หรือไม่
 การพัฒนาความคิดของผู้เรียนนับเป็นเป้าหมายที่สำคัญยิ่ง ของการจัดการศึกษา และสามารถพัฒนาได้โดยการสอน การพัฒนาการคิดจึงเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษา แต่การสอนทักษะการคิดก็ยังประสบปัญหาต่างๆ โดยครูส่วนใหญ่ในโรงเรียนมักจะเน้นวิธีการท่องจำ
ทำให้เด็กไม่ได้พัฒนาความคิดเท่าที่ควร เด็กไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาได้เมื่อประสบด้วยตนเอง ดังนั้น จึงขอเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณดังต่อไปนี้(สุดา  อ่อนประไพ.2548:43 )
 1. เน้นความมีเหตุผลดี คือ การสร้างให้เด็กรู้จักคิดก่อนทำและสามารถอธิบาย การทำหน้าที่ที่เกิดขึ้นแล้วว่า มีเหตุผลอย่างไร ครูตั้งคำถามว่า “ ทำไม ”  ให้เด็กตอบ โดยใช้หลักฐานรองรับอยู่เสมอ
 2. ส่งเสริมให้เด็กตัดสินใจด้วยตัวเอง การเปิดโอกาสให้เด็กได้ตัดสินใจด้วยตัวเองถือว่าเป็นการพัฒนาทักษะการคิด
 3.  สร้างความสัมพันธ์ของเหตุผลการอ่าน การสอนอ่าน สำหรับเด็กถ้าก่อนอ่านครูได้ตั้งคำถามประสบการณ์เดิมก่อนอ่าน 2-3 คำถาม และเมื่ออ่านจบแล้วครูจึงถามหาความสัมพันธ์ของเนื้อเรื่องที่อ่าน จะช่วยพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณได้อีกวิธีหนึ่ง
 4.    อภิปรายจากการ์ตูนล้อการเมือง  วิธีอาจเหมาะสำหรับนักเรียนระดับ  ช่วงชั้นที่  2
(ป.4-ป.6)  การอภิปรายเชิงวิเคราะห์     วิจารณ์รูปการ์ตูนล้อการเมืองจะช่วยให้เด็กมีทักษะการ
ลงข้อสรุป และการประเมินความเห็นของผู้อื่นช่วยให้เด็กรู้จักการอ้างเหตุผล และรับฟังความเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นธรรม
ถามอย่างไรดีจึงจะช่วยพัฒนาการคิด
 1. ครูควรเตรียมคำถามที่เป็นคำถามสำคัญไว้ล่วงหน้า เช่นคำถามที่พัฒนาความคิด และลองตอบคำถามว่าคำถามเหล่านั้นมีประเด็นสำคัญในการตอบอย่างไรจะได้รู้ลู่ทางในการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในชั้นเรียน เช่น นักเรียนตอบไม่ตรงประเด็น ครูจะชักจูงอย่างไรให้เข้าประเด็นในเรื่องที่ถาม และการที่ครูลองตอบคำถามจะได้ทราบว่า คำถามนั้นชัดเจนหรือไม่และมีข้อมูลเพียงพอที่จะตอบคำถามหรือไม่
 2. เมื่อเริ่มกระบวนการเรียนการสอน ไม่ควรถามคำถามที่ยากตั้งแต่เริ่มแรก จะทำให้นักเรียนท้อ ไม่อยากเรียน ควรเริ่มด้วยคำถามง่ายๆก่อน ให้นักเรียนสามารถตอบถูกได้ ครูควรแสดงความชื่นชมนักเรียนเมื่อตอบถูก จะเป็นการเสริมแรง( reinforcement ) และสร้างความมั่นใจให้นักเรียน
 4. ถ้านักเรียนตอบผิดหรือตอบไม่ตรงประเด็น ครูไม่ควรตำหนินักเรียนทำให้นักเรียนอายเพื่อน และส่งผลให้เกิดความไม่มั่นใจตามมา ถ้านักเรียนตอบผิดครูอาจจะ บอกนักเรียนว่าคำตอบของนักเรียนน่าสนใจหรือน่าเป็นไปได้ทีเดียว แล้วให้โอกาสนักเรียนคิดและตอบอีกครั้งหนึ่ง หรือใช้คำถามใหม่ที่เป็นพื้นฐานที่จะนำไปสู่คำถามเดิม เพื่อให้นักเรียนคิดเป็นลำดับขั้นและเพื่อให้นักเรียนระดมความคิดในการตอบ หรืออาจลดระดับคำถามที่อาจจะยากเกินไป หรือให้กำลังใจว่าลองคิดดูอีกครั้ง เดี๋ยวครูจะกลับมาถามใหม่ เผื่อว่านักเรียนคิดออก หรืออาจจะถามคนอื่น ๆ เพื่อจะเป็นข้อมูลแก่นักเรียนที่ยังตอบไม่ได้ เมื่อได้ข้อมูลที่เพียงพอมากขึ้นพอจะตอบได้จึงจะกลับมาให้นักเรียนคนเดิมตอบ
 5. เมื่อนักเรียนตอบผิด ตอบไม่ตรงประเด็น ตอบช้าหรือไม่ตอบ ครูไม่ควรใจร้อนตอบคำถามเสียเอง ต้องพยายามช่วยเหลือให้นักเรียนได้หัดคิดและตอบด้วยตนเอง ถ้าครูเห็นว่านานเกินควรอาจจะให้นักเรียนคนอื่น ๆ ได้แสดงความคิดเห็นบ้าง
 6. ควรหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนคำถามบ่อย เมื่อต้องการคำตอบแบบเดิม เพราะอาจจะทำให้นักเรียนเกิดความสับสนในการหาคำตอบ
 7. ควรหลีกเลี่ยงที่จะชี้แนะแนวทางหรือคำตอบให้แก่นักเรียนทันที หลังจากตั้งคำถามแล้วเพราะนักเรียนอาจเคยตัว ตอบไม่ได้หรือตอบช้าครูก็จะแนะคำตอบอยู่เสมอ นักเรียนก็จะไม่พยายามคิดหาคำตอบ
 8. เมื่อถามคำถาม ควรให้เวลานักเรียนในการทำความเข้าใจกับปัญหาและระดมความคิดความรู้หาคำตอบ เมื่อนักเรียนตอบและควรเว้นระยะเวลาอีกนิด เพื่อให้คนอื่นตรวจสอบคำตอบ
 9. ควรใช้คำถามเท่าที่จำเป็น เพราะถ้าพร่ำเพรื่อเกินไป จะทำให้บรรยากาศในห้องเรียนเสียไปได้ หรือจะไปขัดขวางความคิดของนักเรียน คำถามนั้นควรจะมีจุดมุ่งหมายกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจใคร่รู้ กระตุ้นให้คิด กระตุ้นให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ กระตุ้นให้นักเรียนสร้างข้อสรุปฯลฯ
 ครูควรตั้งคำถามก่อน แล้วเรียกชื่อ เพราะนักเรียนทุกคนจะมีโอกาสได้คิด แต่คนเรียกชื่อเท่านั้นที่ตอบ แต่ถ้าเรียกชื่อก่อนตั้งคำถาม นักเรียนทุกคนจะไม่คิดตาม ให้เป็นหน้าที่ของคนที่ถูกเรียกชื่อคิดหาคำตอบแต่เพียงผู้เดียว
 หลีกเลี่ยงการถามนักเรียนทั้งชั้น เพราะจะมีนักเรียนบางคนไม่สนใจคำถาม ไม่คิด ไม่ตอบคำถาม และเมื่อตอบพร้อมๆ กัน  จะเกิดความสับสนเมื่อคำตอบนั้นนักเรียนตอบหลายคำตอบต่างๆ กัน
 แต่ในบางกรณีอาจจะใช้คำถามกับนักเรียนทั้งชั้นๆได้ เช่น ในกรณีที่นักเรียนมีความสนใจในเรื่องที่เรียนมาร่วมกัน และเรื่องที่เรียนนั้นต้องมีการพิจารณา และอภิปรายร่วมกันอย่างกว้างขวางหรือในกรณีที่ต้องการสรุปแนวคิดหลักในเรื่องที่จะศึกษา เพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจในเรื่องที่เรียนร่วมกัน หรือในกรณีที่นักเรียนในห้องส่วนใหญ่ขาดความสนใจขณะร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น พูดคุยกัน ครูสามารถใช้คำถามทั้งชั้นเพื่อดึงความสนใจของนักเรียนให้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆหรือหยุดพูดคุยกัน เป็นต้น
 ในบางกรณีอาจจะใช้คำถามสำหรับนักเรียนเป็นกลุ่ม โดยครูตั้งคำถามหลักๆ ที่สำคัญแล้วให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดหาคำตอบนั้น ๆ ในลักษณะนี้นักเรียนในแต่ละกลุ่มได้มีโอกาสฝึกทักษะการตั้งคำถาม การตอบคำถาม นักเรียนมีโอกาสได้คิดอย่างทั่วถึง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และช่วยพัฒนาศักยภาพในการคิดของนักเรียนได้เป็นอย่างดี
 11. ครูต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนถามบ้าง เพราะการที่นักเรียนถามแสดงว่านักเรียนคิดตามการสอนของครู นอกจากนี้จะทำให้ทราบว่านักเรียนมีความเข้าใจในเรื่องที่เรียนมากน้อยเพียงใด เมื่อนักเรียนถามแล้วครูไม่ควรตอบทันที อาจถามกลับเพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยงความรู้หรือข้อมูลต่างๆ ที่ได้สำรวจตรวจสอบมาแล้วมาใช้ในการตอบ หรือให้คนอื่นช่วยกันตอบหรืออภิปรายคำถามนั้นร่วมกัน ครูอาจช่วยเสนอแนะแนวทางบ้าง
 ถ้าเป็นคำถามที่ดีครูควรชมเชย ยกย่องเพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักเรียนคนอื่น และเป็นการเสริมแรงสำหรับนักเรียนที่ถาม
 มีนักการศึกษาหลายท่านให้ความเห็นพ้องกันว่า คำถามของนักเรียนมีความสำคัญกว่าคำถามของครูอย่างมาก
 2. ครูมักใจร้อน   เร่งเร้าคำตอบจากนักเรียนทำให้นักเรียนไม่มีเวลาคิดหาเหตุผล      หรือเชื่อมโยงความรู้มาตอบคำถาม ถ้านักเรียนตอบช้าครูมักจะตอบคำถามเสียเอง
 3. นักเรียนส่วนใหญ่ตอบคำถามสั้นๆ เมื่อนักเรียนตอบคำถามดังกล่าวแล้ว ครูไม่ถามต่อเพื่อหาคำตอบหรือความคิดที่ไม่ชัดเจน ไม่สมบูรณ์ ให้ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรือไม่ถามต่อเพื่อให้นักเรียนระดมความคิดเชื่อมโยงความรู้ที่มีอยู่มาตอบให้มากขึ้น
 4. นักเรียนบางคนขาดความมั่นใจ กลัว อับอายเมื่อตอบผิด หรือไม่เคยฝึกคิดเพื่อจะตอบคำถามมาก่อนเนื่องจากเคยแต่รับความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว เมื่อนักเรียนไม่ตอบครูก็จะละเลยไปถามนักเรียนคนอื่นที่สามารถตอบคำถามได้ หรือครูเป็นผู้ตอบเสียเอง
 5. ครูไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนถามคำถามครูบ้าง หรือเปิดโอกาสน้อยมากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นคำถามต่างๆที่เกิดขึ้นขณะการเรียนการสอนมีน้อยมากในการสอนบางครั้งนักเรียนไม่มีโอกาสถามคำถามแม้แต่เพียงคำถามข้อเดียว
 6. บางชั้นเรียนการถามของครูจะให้นักเรียนทั้งชั้นตอบ คนที่สนใจก็ตอบ คนที่ไม่สนใจก็ไม่ตอบ บางครั้งเกิดการแก่งแย่งกันตอบ เกิดความสับสน
 7. ครูขาดการเตรียมคำถามที่ดีล่วงหน้า ดังนั้นคำถามบางคำถาม นักเรียนไม่ทราบว่าจะตอบอย่างไร จึงจะเดาใจครูถูก ถามคำถามวนไปวนมา ไม่เรียงลำดับตามมโนมติที่จะถามไม่มีเป้าหมายในการถามอย่างชัดเจน
 9. ครูยังไม่ให้ความสนใจคำตอบของนักเรียนเท่าที่ควร เมื่อนักเรียนตอบถูกต้อง น้อยมากที่ครูจะมีการเสริมแรง และให้กำลังใจในการตอบของนักเรียน
(  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี.2549 :34-35 )
ที่มาของภาพ  http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:rzJUbN97Qo9nqM:http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/669/669/images/learn.jpg
1. การนิยามและทำความกระจ่างปัญหา
2. การิจรารณาตัดสินข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กับปัญหา
3. การแก้ปัญหา / การลงข้อสรุป
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณตามแนวคิดของ เอนนิส (Ennis R.H.)
ได้กล่าวถึง ลักษณะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ดังนี้
1. หาข้อความ วิทยานิพนธ์หรือคำถามที่ชัดเจน
2. หาเหตุผล.
3. พยายามหาข้อมูลที่ดี
4. ใช้ข้อมูลน่าเชื่อถือและอ้างอิงได้
5. พิจารณาสถานการณ์โดยรวม
6. พยายามมุ่งประเด็นหลัก
7. จดจำความรู้พื้นฐานไว้
8. สร้างทางเลือก
9. เปิดใจกว้าง
10. แสดงจุดยืนเมื่อพยานหลักฐานและเหตุผลพอเพียง
11. หาความชัดเจนให้มากที่สุด
12. ดำเนินการไปตามลำดับขั้นตอนจากส่วนต่าง ๆ ของความซับซ้อนทั้งหมด
13. มีความรู้สึกไวต่อระดับความรู้และการอ้างเหตุผลของผู้อื่น
การคิดอย่างมีวิจารณาญาณเป็นการคิดอย่างมีเหตุผล  ซึ่งองค์ประกอบ
ของการคิดอย่างมีเหตุผล 7 ประการ
1. จุดมุ่งหมาย
2. ประเด็นคำถาม
3. สารสนเทศ
4. ข้อมูลเชิงประจักษ์
5. แนวคิดอย่างมีเหตุผล
6. ข้อสันนิษฐาน
7. การนำไปใช้และผลที่ตามมา
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณตามแนวคิดของกระทรวงศึกษาธิการ
ได้แก่
1. สังเกต
2. อธิบาย
3. รับฟัง
4. เชื่อมโยงความสัมพันธ์
5. วิจารณ์
6. สรุป
แมเนจเม้นท์ จำกัด.2544   (2544:150-153)
http://www.sahavicha.com/?name=blog&file=readblog&id=154


2.Cornell Critical Thinking Test, Level X and Z สรางขึ้นโดย Ennis และ Millman โดยยึดแนวคิดของ Ennis 
3.CaliforniaCritical Thinking Skills Test (CCTST)



  1) แบบ ทดสอบทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณของแคลิฟอรเนียร (California Critical Thinking Skills Test : CCTST) 
 2) แบบสํารวจลักษณะของผูที่มีการคิดอยางมีวิจารณญาณ (California Critical Thinking Dispositions Inventory : CCTDI) 


         กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาข ึ้ นมีวัตถุประสงคของกระบวนการเพ ื่ อพัฒนาความสามารถ ในการคิดวิจารณญาณ ประกอบดวยความสามารถในการคิดอุปนัย การนิรนัยการหาความนาเช ื่ อถือของ แหลงขอมูล การพยากรณ การอางเหตุผลที่ผิดหลักตรรกะ การใหคําจํากัดความ และการระบุขอ สันนิษฐาน โดยมีขั้นตอนของกระบวนการ 2 ระยะ (1) ขั้นเตรียมความพรอม เปนการใหความรูความ เขาใจผูเรียนใหมีความรูเก ี่ ยวกับทักษะพ ื้ นฐานของการคิดอยางมีวิจารณญาณ (2) ขั้นฝกคิด ประกอบ ดวย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นการฝกคิดและข ั้ นการนําไปใช ขั้นการฝกคิด ประกอบดวย 5 ขั้นตอน คือ   1) ขั้นเสนอปญหาจากสถานการณ 2) ขั้นพิจารณาปญหาและเหตุผล 3) ขั้นสรุปผลการคิด 4) ขั้นสราง ความเขาใจและเลือกทางเลือกและ 5) ขั้นตัดสินใจ ขั้นการนําไปใชเปนการฝกใหผูเรียนไดประยุกต กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณไปใชในสถานการณอื่นๆได

           1. การระบุหรือทำความเข้าใจกับปัญหา ข้ออ้าง (claims) หรือข้อโต้แย้งซึ่งต้องอาศัยความสามารถฝึกฝนการพิจารณาข้อมูลหรือสถานการณ์ที่ปรากฏ การพิจารณาความมากมายของคำ ความชัดเจนของคำ 
           2.  การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งอาศัยความสามารถในการรวบรวมโดยการสังเกตทางตรงและทางอ้อม การดึงข้อมูลจากประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ การสังเกตจะช่วยให้บุคคลรับสิ่งเร้าเพื่อให้เกิดกระบวนการดูดซึมเข้าสู่โครงสร้าง และกระบวนการปรับตัวให้เข้าสู่โครงสร้างเพื่อให้เกิดสภาวะสมดุล

           บุษกร ดำคง (2542:14-15) อ้างอิงจากทฤษฎีเอนนิส (Ennis) ระบุว่าการคิดวิจารณญาณประกอบด้วยความสามารถ (Ability) และลักษณะ (Dispositions) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้  
           9.  เปิดใจกว้าง

  การศึกษาการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Ennis.1989) ประกอบด้วยทักษะ 8 ประการ 
จุดมุ่งหมายของการคิด
   8. ชั่งน้ำหนัก ผลได้ ผลเสีย คุณ-โทษ ในระยะสั้นและระยะยาว
 แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาการคิด
 แนวทางที่ครูสามามารถทำได้มากที่สุด และสะดวกที่สุดในการพัฒนาการคิด   คือ 
การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 
 คำถามที่ครูใช้ต้องเป็นคำถามที่ตอบได้ชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงประเด็น ยั่วยุ ท้าทายให้นักเรียนคิด แต่อย่างไรก็ตามการถามจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย ครูผู้สอนควรจะมีศิลปะในการถามคำถามดังนี้ (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี.2549:32-34 )
  3. ให้ความสนใจคำตอบของนักเรียนทุกคำตอบ เมื่อนักเรียนตอบครูควรฟังอย่างตั้งใจเพื่อให้นักเรียนเห็นว่าครูให้ความสำคัญต่อการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน และเมื่อนักเรียนตอบแล้ว ครูไม่ควรตัดสินคำตอบว่าผิดหรือถูกทันที อาจะถามความคิดเห็นของเพื่อนๆ ว่ามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการตอบคำถามของนักเรียนอย่างไร ถ้าครูตัดสินว่าคำตอบนั้นถูกหรือผิดทันทีจะทำให้นักเรียนคนอื่นหยุดคิดทันที
  10. เมื่อถามนักเรียนแล้ว นักเรียนทุกคนมีโอกาสตอบอย่างทั่วถึง โดยการสุ่มให้นักเรียนตอบ นักเรียนจะได้ตอบกระจายกันทั่วทั้งชั้นเรียน ไม่ควรถามเฉพาะนักเรียนที่ยกมือ หรือผู้ที่ตั้งใจเรียนเพราะนักเรียนที่ไม่ยกมือก็จะหยุดคิดและลดความสนใจในสิ่งที่ครูถาม แต่บางโอกาสเมื่อนักเรียนคนใดยกมือบ่อยครั้งแล้วครูอาจจะให้กำลังใจโดยเรียกตอบบ้างเป็นบางครั้ง
 เนื่องจากการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นการเรียนที่มีการอภิปรายซักถามระหว่างครูกับนักเรียนอยู่ตลอดเวลา ฉะนั้นบางโอกาสที่ครูไม่สามารถตอบปัญหาที่นักเรียนซักถามได้ ควรได้ชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจว่าครูไม่ใช่เป็นผู้รอบรู้ในปัญหาทุกอย่าง แต่ครูและนักเรียนควรจะได้ค้นหาคำตอบร่วมกัน
  ปัญหาในการใช้คำถาม
 1. คำถามที่ครูส่วนใหญ่มุ่งถามเนื้อหา ความรู้ความจำ คำถามในลักษณะนี้จะไม่เอื้อต่อการอภิปราย ไม่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้นักเรียนได้คิดอย่างกว้างขวาง และคิดอย่างมีเหตุผล
 8. ขณะที่มีการอภิปรายระหว่างการนำเสนอข้อมูลมีการถามตอบระหว่างนักเรียนที่นั่งฟังและนักเรียนที่นำเสนอ เมื่อนักเรียนผู้นำเสนอตอบผิด ตอบคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง ครูผู้สอนไม่ได้ซักถาม ให้สืบค้นเพิ่มเติม หรือให้ข้อมูลที่ถูกต้องทำให้นักเรียนที่ฟังการอภิปรายอยู่เข้าใจว่าคำตอบนั้นถูกต้อง เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ครูจะต้องแก้ไขคำตอบของนักเรียนให้ถูกต้อง
ที่มาของข้อมูล http://www.rbr2.net/chusak/12.doc 



ข้อมูลต้นฉบับ http://www.sahavicha.com/?name=media&file=readmedia&id=1410


กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณ     ในยุคปัจจุบันมักจะได้ยินครูพูดว่านักเรียนไม่ชอบคิด  ชอบเดามากกว่าโดยเฉพาะการทำแบบทดสอบแบบปรนัย  เพราะครูส่วนหนึ่งนิยมทดสอบนักเรียนโดยให้ทำแบบทดสอบแบบปรนัย  เพราะตรวจง่าย สะดวก รวดเร็ว  ในทางกลับกัน   ถ้าเป็นแบบทดสอบแบบอัตนัย  นักเรียนส่วนใหย๋ไม่สนใจทำ  คิดว่าตนเองทำไม่ได้หรือไม่ก็รู้แต่คำตอบ  ไม่สามารถเขียนขั้นตอนการคิดได้  จึงทำให้นักเรียนเลยขาดกระบวนการคิด   ขอยกตัวอย่างกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณตามแนวคิดของนักการศึกษา  ดังนี้
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณตามแนวคิดของนีดเลอร์ (Kneedler)ได้เสนอกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณไว้ ดังนี้
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณาญาณตามแนวคิดของพอล (Paul)
แหล่งข้อมูล : วิทยาการด้านการคิด...กรุงเทพฯ บริษัท  เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป

No comments:

Post a Comment

like