โฆษณา

STEM Education ด้วย Social Media by kruweerachat

Friday, June 23, 2017

การอบรมพัฒนาสมรรถนะครู App for Education สพม 27

การอบรมพัฒนาสมรรถนะครู App for Education สพม 27 เป็นอีกครั้งที่อบรมด้วยความมุ่งมั้นจากทุกฝ่าย ครับ




ได้รับความไว้วางใจจาก สพป.สมุทรปราการเขต 1 เป็นวิทยากรอบรม สะเต็มศึกษา

ได้รับความไว้วางใจจาก สพป.สมุทรปราการเขต 1 เป็นวิทยากรอบรม สะเต็มศึกษา  เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ได้ทดสอบโมเดลที่ออกแบบไว้ คุณครูตอบรับดีมากๆครับ ได้ทดสอบเทคโนโลยีในการฝึกอบรมและรูปแบบที่จะช่วยให้การอบรมเป็นไปอย่างต่อเนื่อง





การสอนที่โรงเรียน

อาจจะดูไฮโซ แต่ลูกทุ่งที่สุด



งานยกร่างหลักสูตรสาระการออกแบบและเทคโนโลยี

งานยกร่างหลักสูตรสาระการออกแบบและเทคโนโลยี  หวังว่านี่คือส่วนหนึ่งที่จะขับเคลื่อนการศึกษาไปข้างหน้า  ร่วมงานกับ สสวท. ครับ ได้ความรู้และประสบการณ์มากมาย








Thailand Innovative Teacher Awards 2017

Thailand Innovative Teacher Awards 2017  เก็บไว้เผื่อหาภาพไม่เจอ








4D Anatomy เอาไว้สอนชีวะ

4D Anatomy เอาไว้สอนชีวะ

เพิ่มความน่าตื่นเต้นในใชั้นเรียนด้วยเทคโนโลยี Ar Augmented Reality

เพิ่มความน่าตื่นเต้นในใชั้นเรียนด้วยเทคโนโลยี Ar  Augmented Reality  จากหนังสือภาพนิ่งๆเรามาลองเติมสีสันให้หนังสือของเรากันดูนะครับ Augmented Reality จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างการใช้งานนะครับ





ความเป็นจริงเสริม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Samsung SARI AR SDK marker less tracker ที่ใช้ใน AR EdiBear (Android OS)
NASA X38 display แสดงการซ้อนทับแผนที่วิดีทัศน์ ซึ่งรวมรันเวย์และสิ่งกีดขวางระหว่างการบินทดสอบในปี 2543
ความเป็นจริงเสริมหรือความเป็นจริงแต่งเติม (อังกฤษAR : Augmented Reality Technology ) เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างความเป็นจริง และ โลกเสมือนที่สร้างขึ้นมาผสานเข้าด้วยกันผ่านซอฟต์แวร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างข้อมูลอีกข้อมูลหนึ่งที่เป็นส่วนประกอบบนโลกเสมือน (virtual world) เช่น ภาพกราฟิก วิดีโอ รูปทรงสามมิติ และข้อความ ตัวอักษร ให้ผนวกซ้อนทับกับภาพในโลกจริงที่ปรากฏบนกล้อง
เทคโนโลยี AR แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แบบที่ใช้ภาพสัญลักษณ์และแบบที่ใช้ระบบพิกัดในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลบนโลกเสมือนจริง ซึ่งในทางเทคนิคแล้วภาพสัญลักษณ์ที่ใช้ จะนิยมเรียกว่า “Marker”  หรืออาจจะเรียกว่า AR Code ก็ได้ โดยใช้กล้องเว็บแคมในการรับภาพ เมื่อซอฟต์แวร์ที่เราใช้งานอยู่ประมวลผลรูปภาพเจอสัญลักษณ์ที่กำหนดไว้ก็จะแสดงข้อมูลภาพสามมิติที่ถูกระบุไว้ในโปรแกรมให้เห็น เราสามารถที่จะหมุนดูภาพที่ปรากฏได้ทุกทิศทางหรือเรียกว่าหมุนได้ 360 องศา
ขั้นตอนการทำเทคโนโลยีเสมือนจริง ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
1. การวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็นขั้นตอนการค้นหา Marker จากภาพที่ได้จากกล้องแล้วสืบค้นจากฐานข้อมูล (Marker Database) ที่มีการเก็บข้อมูลขนาดและรูปแบบของ Marker เพื่อนำมาวิเคราะห์รูปแบบของ Marker การวิเคราะห์ภาพ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การวิเคราะห์ภาพโดยอาศัย Marker เป็นหลักในการทำงาน (Marker based AR) และการวิเคราะห์ภาพโดยใช้ลักษณะต่างๆ ที่อยู่ใน ภาพมาวิเคราะห์ (Marker-less based AR)
2. การคำนวณค่าตำแหน่งเชิง 3 มิติ (Pose Estimation) ของ Marker เทียบกับกล้อง
3. กระบวนการสร้างภาพสองมิติ จากโมเดลสามมิติ (3D Rendering) เป็นการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในภาพ โดยใช้ค่าตำแหน่ง เชิง 3 มิติ ที่คำนวณได้จนได้ภาพเสมือนจริง
องค์ประกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง ประกอบด้วย
1.AR Code หรือตัว Marker ใช้ในการกำหนดตำแหน่งของวัตถุ
2.Eye หรือ กล้องวิดีโอ กล้องเว็บแคม กล้องโทรศัพท์มือถือ หรือ ตัวจับ Sensor อื่นๆ ใช้มองตำแหน่งของ AR Code แล้วส่งข้อมูลเข้า AR Engine
3AR Engine เป็นตัวส่งข้อมูลที่อ่านได้ผ่านเข้าซอฟต์แวร์หรือส่วนประมวลผล เพื่อแสดงเป็นภาพต่อไป
4.Display หรือ จอแสดงผล เพื่อให้เห็นผลข้อมูลที่  AR Engine ส่งมาให้ในรูปแบบของภาพ หรือ วีดีโอ
หรืออีกวิธีหนึ่ง เราสามารถรวมกล้อง AR Engine และจอภาพ เข้าด้วยกันในอุปกรณ์เดียว เช่น โทรศัพท์มือถือ หรืออื่นๆ

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


ทำหนังสือให้พูดได้ ด้วย Aurasma

ทำหนังสือให้พูดได้ ด้วย Aurasma

บันทึกหน้าจอเป็นเรื่องเล่านะครับ การทำหนังสือเรียนธรรมดาให้เป็นหนังสือเรียนพูดได้



App สำหรับสอนวิชาโลกและดาราศาสตร์

App สำหรับสอนวิชาโลกและดาราศาสตร์
        ช่วงนี้ได้เตรียมการสอนบ้างเล็กน้อย ทั้งสื่อที่มีและที่ทยอยทำขึ้นเอง แชร์ๆกันไปนะครับ

like