ระเบียบวิธีวิจัย แบบเชิงปริมาณและการประเมินเพื่อตอบสนองแบบมีส่วนร่วม(Stekeholder)
ต่อเป้าหมายและบทบาทของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน STEM
รวบรวมโดย นายวีรชาติ มาตรหลุบเลา
การวิจัย (อังกฤษ: research)
หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพื่อค้นหาความจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่กระทำด้วยพื้นฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวิธีและระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรู้ด้านต่าง
ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาล การวิจัยอาจต้องใช้หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
โดยทั่วไป
เป็นที่เข้าใจกันว่าการวิจัยคือการกระทำตามกระบวนการที่มีโครงสร้างเฉพาะอันใดอันหนึ่ง
แม้ว่ากระบวนการต่าง ๆ ดังกล่าวจะมีความผันแปรแตกต่างกันไปตามลักษณะของเนื้อหางานและตามนักวิจัยอยู่บ้างก็ตาม
แต่ส่วนใหญ่ทั้งงานวิจัยขั้นพื้นฐานและการวิจัยประยุกต์จะมีขั้นตอนดังต่อไปนี้:
1.การวางเนื้อเรื่องและกำหนดชื่อเรื่อง2.การตั้ง 2.การตั้งสมมุติฐาน 3.การนิยามแนวคิด (Conceptual definition)
4.การนิยามวิธีการทำวิจัย (Operational definition)
5.การรวบรวมข้อมูล
6.การวิเคราะห์ข้อมูล
7.การทดสอบและการปรับสมมุติฐาน
5.การรวบรวมข้อมูล
6.การวิเคราะห์ข้อมูล
7.การทดสอบและการปรับสมมุติฐาน
8.การสรุปและการทำซ้ำ (iteration) ถ้าจำเป็น
วิธีการวิจัย ที่ใช้กันในปัจจุบัน
1.การวิจัยเชิงปฏิบัติ
2.ชาติพันธุ์วรรณา
3.วิธีเดลฟาย
4.การวิเคราะห์เชิงสถิติ
5.การจำลอง หรือ ซีมิวเลชัน
6.แบบจำลอง
7.แบบจำลองคณิตศาสตร์
8.การสัมภาษณ์
9.แบบสอบถาม
10.การทำแผนที่ (Cartography)
11.กรณีศึกษา (Case study)
12.การจำแนกประเภท (Classification)
13.การวิเคราะห์ข้ออ้างอิง (Citation Analysis)
14.การถือชาติพันธุ์ของผู้บริโภค (Consumer ethnocentrism) และ CETSCALE
15.ตัวบทหรือ
15.ตัวบทหรือการวิเคราะห์ตัวบท (Content or Textual Analysis)
16.ประสบการณ์ (Experience)
17.การรู้เอง (intuition)
18.การทดลอง (Experiment)
19.การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation)
20. ปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenology)
21.วิธีวิทยาคิว (Q methodology)
22.การสำรวจเชิงสถิติ (Statistical survey)