อาชีพวิศวกร( Engineering Services) ด้านล่างกล่าวถึง อาชีพวิศวกร( Engineering Services) แต่ผมจะเขียนเพิ่มเกี่ยวกับวิศวกรควบคุม ตามสายงานต่างๆ เช่น เครื่องกล ไฟฟ้า โยธา ขอบกล่าว คร่าวๆกับคำว่า วิศวกร( Engineering ) ก่อนอันแรกนะครับเพราะผมเคยมีประสบการณ์การทำงานในด้านนี้มาก่อน การจะไปทำงานข้ามประเทศได้นั้น สำหรับ อาชีพวิศวกรควบคุม จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ระดับ สามัญ ขึ้นไปนะครับ นั่นคือวิศวกรจบใหม่ หรือยังไม่ไปสอบเลื่อนระดับหมดสิทธ์ จะไปได้เฉพาะ ระดับ สามัญและวุฒิวิศวกร เท่านั้น ส่วนระดับแรก คือ ภาคีวิศวกร จะไม่สามารถไปได้
ในสภาวิศวกร จะมีการทำ CPD การอบรมปรับปรุงวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง นับชั่วโมงการสอบ การปฎิบัติงาน และการร่วมปฎิบัติงาน รวมถึง งานวิจัยร่วมเป็นตัวคูณแฟคเตอร์ด้วย
แต่อาชีพที่น่าดีอีกอาชีพหนึ่งเท่าที่เคยทำงานมาคือ เกี่ยวกับสุขภาพ (helf complex) ซึ่งตอนนี้ได้รับการตอบรับที่ดีมาก เช่น ในด้านทันตะ ฝรั่งขึ้นเครื่องบินมาทำรากฟันที่ไทย ทำไปเที่ยวไป 7 วันบินกลับบ้าน เบ็ดเสร็จจ่ายน้อยกว่าอยู่ประเทศเขา แต่อยู่ไทย สบายจ่ายแค่นิดเดียว
มาถึงตอนนี้ ทุกคนคงจะรู้จัก AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกันมาพอสมควรแล้ว (อ่านต่อ : AEC คืออะไร)
เมื่อมี AEC เกิดขึ้น 7 อาชีพแรก ที่มีข้อตกลงกันแล้ว ให้สามารถเคลื่อนย้ายไปทำงานได้อย่างเสรี จะมีอาชีพอะไรบ้าง ลองมาดูกัน
ได้แก่ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา บรูไน
จากผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กำหนดให้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs)
ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติในสาขาอาชีพหลัก
เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษได้อย่างเสรีข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี
ด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติในสาขาอาชีพหลัก
เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษได้อย่างเสรีข้อตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี
สำหรับ 7 อาชีพอาเซียนที่โดดเด่น มีดังนี้
อาชีพวิศวกร( Engineering Services)
อาชีพพยาบาล (Nursing Services)
อาชีพสถาปนิก(Architectural Services)
อาชีพการสำรวจ (Surveying Qualifications)
อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services)
อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)
อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners)
อาชีพพยาบาล (Nursing Services)
อาชีพสถาปนิก(Architectural Services)
อาชีพการสำรวจ (Surveying Qualifications)
อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services)
อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)
อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners)
การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีในกลุ่ม 7 อาชีพนั้น มีผลดีต่อไทยไม่น้อย เพราะในภาพรวม สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไทยมีศักยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสายวิชาชีพทั้ง 7 ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง
ซึ่งทำให้ผู้จบการศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 7 ตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอกมีตลาดงานที่เปิดกว้างมากขึ้น
แต่แน่นอนว่าจะต้องมีปัญหาตามมา ก็คือ ในบางสาขาวิชาชีพไทยเริ่มจะเข้าสู่วิกฤตการขาดแคลนอาจารย์ เช่น ทันตแพทย์ จึงเป็นอีกสิ่งที่ต้องคำนึงถึง และให้ความสำคัญ
และสิ่งสำคัญอีกอย่างคือ อาจจะมีผู้มาจากประเทศอื่นที่มาประกอบอาชีพในไทยมีปัญหาความอ่อนด้อยในเรื่องมาตรฐาน ซึ่งถ้าดูแลไม่รอบคอบรัดกุม
อาจก่อเกิดผลกระทบกับสังคมไทยในทางลบ และอาจส่งผลต่อปัญหาการประกอบอาชีพของคนไทยเอง
อาจก่อเกิดผลกระทบกับสังคมไทยในทางลบ และอาจส่งผลต่อปัญหาการประกอบอาชีพของคนไทยเอง
No comments:
Post a Comment